Subscribe:

วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ระบบของกระดูก-(Skeleton System)

     



     กระดูกแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ

      1.แบ่งตามเเกนกลาง


      2.แบ่งตามความเเข็งแรง

      1.แบ่งตามเเกนกลาง

          1.1 กระดูกแกน (Axial Skeleton) ทำหน้าที่ค้ำจุนและป้องกันอันตรายให้แก่อวัยวะสำคัญภายในร่างกาย


                - กะโหลกศีรษะ (Skull)


                - กระดูกสันหลัง (Vertebrate)  แบ่งออกเป็น
                     
                       * กระดูกหลังตรงคอ (Cervical Vertebrate)

                       * กระดูกสันหลังตรงอก (Thoracic Vertebrate)

                       * กระดูกสันหลังตรงสะเอว (Lumbar Vertebrate)

                       * กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum)

                       * กระดูกก้นกบ (Coccyx)

               - กระดูกซี่โครง (Ribs)

               - กระดูกอก (Sternum)

          1.2 กระดูกระยาง  มีหน้าที่ค้ำจุนและเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย


                - กระดูกแขน   แบ่งออกเป็น

                         * กระดูกต้นแขน (Humerus)

                         * กระดูกปลายแขนด้านนอก (Radius)

                         * กระดูกปลายแขนด้านใน (Ulna)

                         * กระดูกข้อมือ (Carpals)

                         * กระดูกฝ่ามือ (Metacarpals)

                         * กระดูกนิ้วมือ (Phalanges)

                 - กระดูกขา มีจำนวน 60 ชิ้น (ข้างละ 30 ชิ้น) แบ่งออกเป็น

                         * กระดูกต้นขา (Femur)

                         * กระดูกสะบ้า (Patella)

                         * กระดูกหน้าแข้ง (Tibia)

                         * กระดูกน่อง (Fibula)

                         * กระดูกข้อเท้า (Tarsals)

                         * กระดูกฝ่าเท้า (Metatarsals)

                         * กระดูกนิ้วเท้า (Phalanges)

                         * กระดูกไหปลาร้า (Clavicle)

                         * กระดูกสะบัก (Scapula)

                         * กระดูกเชิงกราน (Pelvic)
      

      2.แบ่งตามความเเข็งแรง

          2.1 กระดูกเเข็ง ทำหน้าที่ป้องกันอนตรายของอวัยวะภายในร่างกาย และ ช่วยในการค้ำจุนร่างกายเเละการเคลื่อนไหวของร่างกาย

          2.2 กระดูกอ่อน ทำหน้าที่รองเเละเชื่อมกระดูกเเต่ละข้อเพื่อป้องกันการเสียดสีของกระดูก



   ข้อต่อ

    การที่กระดูกประกอบด้วยชิ้นเล็กชิ้นน้อยมาต่อๆกัน ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอย่างนิ่มนวลราบรื่นมากขึ้น

          1.กระดูกที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น กะโหลกศีรษะ
          2.กระดูกเคลื่อนที่ได้เล็กน้อย เช่น กระดูกบริเวณก้นกบ
          3.กระดูกแบบบานพับ เช่น กระดูกต้นแขน ข้อต่อบริเวณหัวเข่า
          4.กระดูกแบบหัวกลม เช่น กระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูกต้นคอ กระดูกต้นขากระดูกสะบักเป็นต้น



    การเคลื่อนไหวของข้อต่อ
  1. เคลื่อนได้ระนาบเดียวกัน(แบบบานพับ) เช่น ข้อศอก ข้อเข่า
  2. เคลื่อนได้2 ระนาบ เช่น ข้อมือ กระดกขึ้น-ลง
  3. เคลื่อนได้ 3 ระนาบ เช่น ข้อไหล่ ข้อสะโพก
    เอ็นยึดกระดูก (Tendon) ทำหน้าที่คล้ายเส้นเชือกโยงระหว่างกล้ามเนื้อกับกระดูก
    
    น้ำไขกระดูก  ทำหน้าที่ช่วยลดการเสียดสีของกระดูกขณะเคลื่อนที่ ซึ่งจะทำให้เคลื่อนที่ได้สะดวก

วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

งานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย




1.งานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทยมีลักษณะอย่างไร
 = งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย
เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถิ่น หรือทำขึ้นเพื่อใช้งานหรือเทศกาลเฉพาะอย่าง เช่น มาลัย บายศรี งานแกะสลัก

2.ของประดับตกเเต่งที่เป็นเอกลักษณ์ไทยมีคุณค่าต่อนักเรียน สังคม เเละประเทศชาติอย่างไร
= มีความเป็นเอกลักษณ์ของคนไทย เป็นความภาคภูมิใจของคนไทย

เเรงบรรดารใจ

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...

ทศชาติ

BumQ

พ่อสอนลูก